"ถ้าพิจารณาเรื่องความคุ้มค่าเป็นอันดับแรก"
Glucosure Autocode
ก่อนหน้านี้ท่านอาจจะหาข้อมูลและเปรียบเทียบมาบ้างแล้วว่าจะเลือกซื้อเครื่องตรวจน้ำตาลยี่ห้อไหนดี แต่ในที่สุด เบาหวาน แชนแนล ขออนุญาตตัดสินใจเลือกให้เป็นยี่ห้อ Glucosure Autocode โดยพิจารณาเรื่องความคุ้มค่าเป็นอันดับแรก ด้วยเหตุผลดังนี้
การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดจะต้องใช้แผ่นตรวจระดับน้ำตาล และเข็มเจาะเลือด
ค่าน้ำตาลที่ตรวจได้ มีความความแม่นยำ และ เที่ยงตรง
เครื่องตรวจเบาหวานที่ใช้งานง่าย คุ้มค่า คุ้มราคาที่สุด
"ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นเบาหวาน และต้องการดูแลตนเอง ควรมีไว้ที่บ้าน"
ใครบ้างที่ควรมีเครื่องตรวจเบาหวานที่บ้าน
เนื่องจากเป้าหมายของการรักษาโรคเบาหวาน คือ การควบคุมและรักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ (อยากรู้ว่า ค่าน้ำตาลในเลือดควรจะเป็นเท่าไหร่ กดอ่านได้ที่นี่) และการตรวจเลือดบ่อยๆ จะช่วยเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และควบคุมอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ เครื่องตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดจึงเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน เพราะผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถทำการเจาะเลือดและตรวจระดับน้ำตาลด้วยตัวเองได้เลยที่บ้าน
"ทางร้านตอบคำถามเร็วมาก ใส่ใจทุกคำถาม"
ทำไมหลายๆคนถึงเลือก Glucosure Autocode
ได้รับมาตรฐานสากล
ได้รับมาตรฐานสากล เช่น ISO15197 , US. FDA 510K , CE
ใช้งานง่าย
ใช้งานง่าย เพียง 3 ขั้นตอน วัดค่าได้ทันทีโดยไม่ต้องตั้งค่า (ไม่ต้องใส่ Code)
รับประกัน
รับประกันตลอดอายุการใช้งาน ขายโดยบริษัทเครื่องมือแพทย์ที่ มีประวัติการซื้อขายกับรพ.ชั้นนำทั่วประเทศ
ได้รับมาตรฐานสากลทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา และยุโรป เช่น ISO 15197 , FDA510 , CE และมีความแม่นยำ เทียบเท่ากับค่าที่วัดได้ที่โรงพยาบาล คุณภาพคุ้มราคา รับประกันเครื่องตลอดอายุการใช้งาน โดยผู้นำเข้าเป็นบริษัทจำหน่ายเครื่องแพทย์ที่มีประสบการณ์มากว่า 10 ปี และมีลูกค้าเป็นโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงเรียนแพทย์ เช่น โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาาลจุฬาลงกรณ์ และโรงพยาบาลเอกชน เช่น โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลพญาไท
เครื่องวัดน้ำตาล Glucosure Autocode
1.เตรียมเครื่องตรวจวัด และแถบทอดสอบหรือตลับทดสอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
2.ปรับระดับความลึกของอุปกรณ์เข็มเจาะเลือดให้เหมาะสมกับสภาพความหนาของผิวบริเวณปลายนิ้ว
3.ล้างมือให้สะอาด และทำให้แห้ง
4.เจาะบริเวณด้านข้างของปลายนิ้วกลาง หรือนิ้วนาง
5.เจาะเลือดในปริมาณเพียงเล็กน้อยที่บริเวณปลายนิ้ว ไม่ควรบีบเค้น
6.กรณีที่เลือดไม่เพียงพอ ให้เจาะเลือดโดยเปลี่ยนบริเวณที่เจาะใหม่ และให้เพิ่มระดับความลึกของเข็ม
7.ตรวจวัดน้ำตาลในเลือดตามขั้นตอนการตรวจวัดของคู่มือการใช้งานหรือเอกสารกำกับที่มาพร้อมกับเครื่องตรวจวัด
8.กดห้ามเลือดบริเวณที่เจาะด้วยสำลีแห้งที่สะอาดจนเลือดหยุด
9.ทิ้งเข็มที่ใช้แล้วและวัสดุปนเปื้อนอื่นๆ ในภาชนะที่ป้องกันการแทงทะลุก่อนนำไปทิ้งถังขยะ
© All rights reserved. เบาหวานแชนแนล - เรื่องเล่าเบาหวาน